พิธีแห่ศาลตาเพชร ตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

หมู่บ้านหนองกระจันทร์ ตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี มีพิธีกรรมที่ใช้สำหรับการบวงสรวง อ้อนวอน เสี่ยงทายของหมู่บ้าน คือ พิธีแห่ศาลตาเพชรเพื่อขอฝน โดยมีรายละเอียดในการทำพิธีดังต่อไปนี้ การทำนาของชาวบ้านหนองกระจันทร์ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับธรรมชาติ คือ ฝน ฝนจึงเป็นสิ่งที่ชาวนาต้องการมากที่สุดในหน้าทำนา ดังนั้นเมื่อได้เวลาไถดำแล้วแต่ปรากฏว่าฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวนาจะมีประเพณีขอฝนซึ่งมักจะแตกต่างกันไปบ้างในท้องถิ่นต่างๆ สำหรับหมู่บ้านหนองกระจันทร์ก็จะมีพิธีการขอฝนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง คือ พิธีแห่ศาลตาเพชร ซึ่งชาวบ้านจะทำพิธีนี้ในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี

Loading

Read more

ความเป็นมาของชุมชนบ้านแม่กระบุง

บ้านแม่กระบุงเป็นหมู่บ้านชาวยไทยเชื้อสายกระเหรี่ยงซึ่งเรียกตัวเองว่า ชาวกระเหรี่ยงมีประวัติมายาวนานกว่า 200 ปี เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2327 นายย่องคื้อ ได้อพยพครอบครัวมาจากบ้านลิ่นถิ่นในเขตอำเภอทองผาภูมิ เพื่อหาที่ทำกินแก่งใหม่ต่อมาเมื่อมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้นในปี พ.ศ. 2420 ทางการได้แต่งตั้งให้นายตู้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 ซึ่งขึ้นกับอำเภอเมืองกาญจนบุรี เมื่อนายตู้เกษียณ นายอ๊อดได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ใหญ่บ้านแทน จำนวนประชากรและจำนวนหมู่บ้านก็เพิ่มขึ้น ได้แก่ บ้านต่อเรือ

Loading

Read more

ปราชญ์ของชุมชนแห่งบ้านห้วยสะพาน

รักษาป่าไผ่พง              ลุงประยงค์  แก้วประดิษฐ์ ปราชญ์ชุมชนต้นคิด       สืบป่าสวยห้วยสะพาน “ป่าคือชีวิต” เป็นจุดเริ่มต้นของโครงการ ป่าชุมชนอันมีคุณค่าของชุมชนบ้านห้วยสะพาน อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยการเริ่มจากพื้นที่เพียงไม่กี่ไร่แล้วขยายออกไปเรื่อยๆ จนเกิดสิ่งที่เกิดขึ้นจากป่าชุมชนมากมายไม่ว่าจะเป็นประเพณีไทย เช่น รำเหย่อย ร่อยพรรษา และที่สำคัญคือการเกิดเป็นกลุ่มอาชีพขึ้นในชุมชนมากกว่า 20 กลุ่ม ที่ทำให้คนในชุมชนอยู่กันอย่างมีความสุข มีรายได้เพื่อเลี้ยงครอบครัวและมีความเป็นอยู่ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

Loading

Read more

วัวลานบ้านหนองขาว

วัวลานบ้านหนองขาว การปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยส่วนใหญ่ และชาวนาไทยทั่วไปได้มีการอาศัยแรงงานจากวัวไถคราดและงานอื่นๆ อีกมารกมาย นอกผืนนาแล้วนั้น เช่น งานนวดข้าวทำนาโดยใช้แรงงานจากวัวมานานถึงประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว เพราะวัวเป็นสัตว์ที่มีรูปร่างสันทัดแข็งแรง มีแรงมาก เชื่องฝึกง่าย และกินหญ้าและฟางข้าวได้โดยไม่ต้องซื้ออาหาร วัวที่ใช้งานส่วนใหญ่นั้นจะเป็นวัวตัวผู้ที่แข็งแรง และส่วนวัวตัวเมียนั้นจะเลี้ยงเอาไว้ขยายพันธุ์เท่านั้น แล้วขายลูกวัวเพื่อหารายได้การใช้งานวัวในช่วงสมัยก่อนของชาวบ้านนั้น วัวคู่หนึ่งจะสามารถไถนาได้เนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ นอกจากใช้วัวไถนาแล้วก็จะมีการเล่นวัวลาน

Loading

Read more

พิธีบูชาดาวนพเคราะห์ วัดถาวรวราราม (วัดญวน) จังหวัดกาญจนบุรี

ความเป็นมา           งานพิธีบูชาดาวนพเคราะห์เป็นประเพณีที่สืบเนื่องมาจากพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน โดยเริ่มจัดขึ้นเมื่อตอนปลายสมัยเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 คือ ท่านอธิการเหยี่ยวเค ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่เดือนที่ 1 ระหว่างวัน 1 ค่ำไปถึง 30 ค่ำ ถ้าเป็นเดือนขาดให้นับเพียงช่วงใดช่วงหนึ่งถ้าพ้นกำหนดนี้ไปแล้วจะทำพิธีไม่ได้         การประกอบพิธี

Loading

Read more

ศูนย์วัฒนธรรม อบต.ไล่โว่ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ของชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง

ตำบลไล่โว่ ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรฝั่งตะวันตกมีเนื้อที่ประมาณ 1,789.23 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ป่าไม้นานาพันธุ์ มีภูเขาสูงสลับกับพื้นที่ราบ แบ่งการปกครองออกเป็น 6 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสะเน่พ่อง บ้านกองม่องทะ บ้านเกาะสะเดิ่ง บ้านไล่โว่-ซาละวะ บ้านทิไล่ป้าและบ้านจะแก โดยชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง           องค์การบริหารส่วนตำบลไล่โว่ตระหนักถึงความสำคัญคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวบ้าน จึงจัดตั้ง “อาคารศูนย์วัฒนธรรมอบต.ไล่โว่

Loading

Read more

บ้านโคก”ลาวครั่ง มนต์ขลังแห่ง“ผี” อวดวิถี“จักรยานโบราณ”

 “ชาติพันธุ์ลาวครั่ง        งานหอฯกลางเดือนเจ็ด อาชีพเกษตรกรรม                 วัฒนธรรมงานบวช สิ่งอยากอวดจักรยานโบราณ     แห่ธงสงกรานต์ยิ่งใหญ่”           นี่คือคำขวัญประจำหมู่บ้าน“โคก” หมู่บ้านชื่อสั้นๆที่หากใครได้ลองไปสัมผัสกับวิถีชุมชนที่นี่แบบไม่ฉาบฉวย ก็จะพบว่าบ้านโคกมีหลายสิ่งหลายอย่างน่าสนใจให้ชวนค้นหากันไม่น้อยเลย  บ้านโคก ลาวครั่ง           หมู่บ้านโคก หรือ “บ้านโคก”(หมู่ 3) ตั้งอยู่ใน ต.อู่ทอง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

Loading

Read more

กลุ่มชุมชนบ้านเขามุสิ (บ้านรักษ์สาน) อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี

กลุ่มชุมชนบ้านเขามุสิ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 79 หมู่ 10 ตำบลหนองปรือ อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี จัดตั้งกลุ่ม (บ้านรักษ์สาน) ขึ้นมาโดยการนำของนางทองมา สังวาลสิน เพื่อจักสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติกขึ้นมา เพื่อสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน ซึ่งเป็นการอนุรักษ์และสืบทอดงานหัตถกรรมจากรุ่นสู่รุ่นหนึ่ง แต่ด้วยสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีที่มีความทันสมัยส่งผลกระทบโดยตรงแก่กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้านจักสาน อันเนื่องตัวผู้บริโภคอายุการใช้งาน ความสวยงาม ความหลากหลาย

Loading

Read more

ภูมิปัญหาความเชื่อเกี่ยวเรื่องหม้อตาหม้อยายของชุมชนหนองขาวจังหวัดกาญจนบุรี

คนบ้านหนองขาว อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เชื่อกันว่าพวกตนเป็นคนไทยแท้แต่โบราณ ไม่ได้อพยพมาจากไหน อยู่อาศัยกันมาที่นี่แต่โบราณ อย่างน้อยก็ตั้งแต่สมัยอยุธยา เป็นคนไทยที่ไม่มีเชื้อสายคนชาติใดปน ในขณะที่นักวิชาการระบุว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีเชื้อมอญ เพราะสำเนียงพูดเหน่อต่ำต่างจากคนท้องถิ่นเมืองกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี หรือนครปฐม ที่ต่างก็เหน่อไปคนละแบบ รวมทั้งความเชื่อเรื่องหม้อตาหม้อยาย ที่คล้ายกับความเชื่อเรื่องผีบรรพชนของมอญ สอดคล้องกับพระครูถาวรกาญจนนิมิต (จีระศักดิ์ อึ้งตระกูล) อดีตเจ้าอาวาสวัดอินทาราม

Loading

Read more

แกงฮินเลอาหารพื้นเมืองคนไทยในอำเภอทองผาภูมิ

แกงฮินเล เป็นอาหารพื้นเมืองที่ได้รับวัฒนธรรมมาจากชาวพม่า คนไทยในอำเภอทองผาภูมิ นิยมรับประทาน รสชาติ เค็ม มัน เปรี้ยว อร่อย “ฮิน” ในภาษาพม่าแปลว่าแกง “เล” ภาษาพม่าแปลว่า เนื้อสัตว์ แกงฮินเลมีต้นกำเนิดมาจากประเทศพม่า ชาวพม่าที่อพยบเข้ามาในประเทศไทยได้นำมาเผยแพร่ ลักษณะเหมือนกับแกงโฮ๊ะ ของชาวล้านนา   เครื่องปรุง

Loading

Read more