ความเป็นมาของชุมชนบ้านแม่กระบุง

บ้านแม่กระบุงเป็นหมู่บ้านชาวยไทยเชื้อสายกระเหรี่ยงซึ่งเรียกตัวเองว่า ชาวกระเหรี่ยงมีประวัติมายาวนานกว่า 200 ปี เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2327 นายย่องคื้อ ได้อพยพครอบครัวมาจากบ้านลิ่นถิ่นในเขตอำเภอทองผาภูมิ เพื่อหาที่ทำกินแก่งใหม่ต่อมาเมื่อมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้นในปี พ.ศ. 2420 ทางการได้แต่งตั้งให้นายตู้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 ซึ่งขึ้นกับอำเภอเมืองกาญจนบุรี เมื่อนายตู้เกษียณ นายอ๊อดได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ใหญ่บ้านแทน จำนวนประชากรและจำนวนหมู่บ้านก็เพิ่มขึ้น ได้แก่ บ้านต่อเรือ

Loading

Read more

“ปากแพรก” กาญจนบุรี

นอกจากชีวิตการค้าขายที่เป็นวิถีชีวิตในการสร้างรายได้ในหมู่ชาวจีน และชาติพันธุ์อื่นๆ เขามีวิธีการทำมาหากินกันอย่างไร ในบทความเรื่อง “ปากแพร” ซึ่งตีพิมพ์ในอนุสาร อ.ส.ท. พ.ศ. 2513 บรรยายภาพการทำมาหากินในย่านปากแพรกยามรุ่งอรุณเอาไว้ดังนี้ “ทุกๆ เช้า ประมาณ 08.00 นาฬิกา จะมีเรือบรรทุกสินค้านานาชนิดและผู้คนมาจากแควน้อยและแควใหญ่มาขึ้น ณ ท่าหน้าเมือง สินค้าส่วนมากเป็นสินค้าพื้นเมืองจำพวกผลไม้ตามฤดูกาล เช่น

Loading

Read more

ศูนย์วัฒนธรรม อบต.ไล่โว่ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ของชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง

ตำบลไล่โว่ ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรฝั่งตะวันตกมีเนื้อที่ประมาณ 1,789.23 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ป่าไม้นานาพันธุ์ มีภูเขาสูงสลับกับพื้นที่ราบ แบ่งการปกครองออกเป็น 6 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสะเน่พ่อง บ้านกองม่องทะ บ้านเกาะสะเดิ่ง บ้านไล่โว่-ซาละวะ บ้านทิไล่ป้าและบ้านจะแก โดยชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง           องค์การบริหารส่วนตำบลไล่โว่ตระหนักถึงความสำคัญคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวบ้าน จึงจัดตั้ง “อาคารศูนย์วัฒนธรรมอบต.ไล่โว่

Loading

Read more

โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน [ อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ]

              อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ตั้งอยู่ที่บริเวณทุ่งลาดหญ้า ตำบลช่องสะเดา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ริเริ่มและดำเนินการก่อสร้างโดยกองทัพบกร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2542 มีความมุ่งหมายในการจัดสร้างเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ตลอดจนเชิดชูวีรกรรมบรรพบุรุษนักรบไทยในการทำสงคราม 9

Loading

Read more

วัดเขาสามสิบหาบ

“วัดเขาสามสิบหาบ” ตั้งอยู่บนทางหลวงชนบท กจ. ๔๐๒๙ ตำบลเขาสามสิบหาบ อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ไม่พบหลักฐานว่าก่อตั้งมาแต่เมื่อใด เดิมชื่อว่า “วัดหนองสามหิบหาบ” ดังปรากฏนามวัดในประกาศพระราชทานวิสุงคามสีมา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๑

Loading

Read more

พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจังหวัดกาญจนบุรี

    พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจังหวัดกาญจนบุรีสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสมหามงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมายุครบ 6 รอบ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และเพื่อเป็นการถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสครบ 400 ปี แห่งชัยชนะที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จกรีฑาทัพผ่านกาญจนบุรีไปทรงยึดกรุงหงสาวดี เมื่อปี พ.ศ. 2142 สถานที่ตั้งพระบรมราชนุสาวรีย์เป็นสถานที่เชื่อกันว่าสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทำสงครามยุทธหัตถีชนะสมเด็จพระมหาอุปราชาของพม่า

Loading

Read more

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

           ในสมัยที่ตั้งเมืองใหม่ พ.ศ. ๒๓๗๔ บริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองในปัจจุบัน ถูกเรียกว่า “หน้าเมือง” และสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ชาวญวนที่อพยพลี้ภัย ได้เข้าตั้งบ้านเรือนในบริเวณหน้าเมืองนี้ด้วยพิธีสักการะศาลเจ้าพ่อหลักเมืองได้กระทำติดต่อมาแต่ครั้งโบราณกาลแล้ว ฉะนั้นความขลังความศักดิ์สิทธิ์จึงมาเป็นอันดับหนึ่ง ถือว่าเป็นโบราณวัตถุที่สำคัญคู่บ้านคู่เมือง เป็นที่เคารพสักการะ และนับถือศักดิ์สิทธิ์เป็นที่รวมวิญญาณของชาวเมืองกาญจนบุรี สามารถดลบันดาลให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขแก่ชาวเมืองกาญจนบุรีอักษรจารึกหลักศิลาเมืองกาญจน์ ณ ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี           ” ปีมะโรงจัตวาศก

Loading

Read more

บ้านอีต่อง “บ้านเทพเจ้าแห่งขุนเขา” อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

ประวัติความเป็นมาของชุมชน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน “อีต่อง” เพี้ยนมาจากคำว่า “ณัตเอ่งต่อง”  โดยคำว่า “ณัต”  แปลว่าเทพเจ้าหรือเทวดา ส่วนคำว่า “เอ่ง” แปลว่า บ้าน และคำว่า “ต่อง” แปลว่า ภูเขา (ทินกร, สัมภาษณ์, 18 ตุลาคม

Loading

Read more

 ประเพณียกธงบ้านเบญพาดวัดเบญพาด ต.พังตรุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี

ประชาชนในตำบลพังตรุเริ่มตั้งขบวนแห่ธงด้วยการทั้งพอกหน้า ทาตัว แต่งกายเป็นตัวประหลาด หรือสวมชุดสีสันสดใสในงานประเพณีโบราณของชาวตำบลพังตรุ อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ที่มีทั้งสนุกสนานและเป็นการสร้างความร่วมไม้ร่วมมือในชุมชนไปในคราวเดียวกัน ซึ่งประเพณีนี้มีมากว่า 100 ปีแล้ว ประเพณียกธงของชาวบ้านเบญพาดเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาไม่ขาดสาย ชาวบ้านซึ่งมีเชื้อสายไทยทรงดำ ลาวครั่ง และลาวโซ่ง เชื่อว่าการช่วยกันยกธงในวันสงกรานต์จะทำให้คนในบ้านเมืองมีความสุข น้ำท่า ข้าวปลาอาหาร อุดมสมบูรณ์ เป็นการสร้างขวัญกำลังใจในวันปีใหม่ ถ้าปีไหนไม่ได้ยก

Loading

Read more