โบราณสถานพงตึก

พงตึกหมู่บ้านนี้ตั้งอยู่ทางฝั่งขวาของแม่น้ำแม่กลอง คำว่า พงตึก สันนิษฐานจากคำบอกเล่าว่าในสมัยก่อนที่ริมแม่น้ำบริเวณตลาดพงตึกมีฐานสิ่งก่อสร้างที่เป็นศิลาแลงมีลักษณะเป็นแนวยาว ท้ายผ่านของอาคารที่กว้างใหญ่อีกทั้งตลอดสองฝั่งแม่น้ำจะเต็มไปด้วยก่อพง ก่อหญ้ามากมาย จากข้อมูลเหล่านี้จึงเป็นที่มาของคำว่าพงตึก ส่วนเหตุผลอีกประกาณหนึ่งที่พอจะนำมาประกอบกันได้คือข้อความบางตอนจากหนังสือนิราศพระแท่นดงรัง ของสามเณรกลั่น กล่าวถึงที่มาของคำว่าพงตึก คือ ตึกพราหมณ์สันนิษฐานว่าอาจเป็นสถานที่ที่ใช้ประกอบพิธีทางศาสนาพราหมณ์ หรืออาจเป็นที่อาศัยของกลุ่มชนนับถือศาสนาพราหมณ์ที่เคยอาศัยอยู่บริเวณนี้โดยในประเด็นนี้เป็นการวิเคราะห์ของนักโบราณคดีที่ได้ศึกษาเปรียบเทียบจากอายุของโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่ค้นพบ ณ สถานที่แห่งนี้ การเป็นทางผ่านของเส้นทางคมนาคมจากหลักฐานของการค้นพบโบราณสถาน โบราณวัตถุพงตึกเมื่อวันที่ 15

Loading

Read more

เมืองกาญจนบุรีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินกลาง

จังหวัดกาญจนบุรีเป็นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์มาตั้งแต่อดีต เป็นแหล่งที่มีมนุษย์เข่าอยู่อาศัยและตั้งถิ่นฐานมาเป็นเวลายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน จากการค้นพบหลักฐานตามโบราณคดียุคหินกลาง อายุประมาณ 10,000 – 7,000 ปีมาแล้ว คณะนักวิชาการไทย-เดนมาร์กขุดพบโครงกระดูกของมนุษย์ยุคหินกลางที่ถ้ำพระ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2504 พบเครื่องมือหินกรวดเป็นจำนวนมาก และได้พบโครงกระดูกของผู้ใหญ่ 1 โครง นอนศีรษะหันไปทางทิศเหนือ ฝ่ามืออยู่ใต้คางแขนท่อนซ้าย วางพาดอก

Loading

Read more

ประวัติศาสตร์เมืองกาญจนบุรีสมัยยุคหินเก่า

          จังหวัดกาญจนบุรีเป็นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์มาตั้งแต่อดีต เป็นแหล่งที่มีมนุษย์เข่าอยู่อาศัยและตั้งถิ่นฐานมาเป็นเวลายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน จากการค้นพบหลักฐานตามโบราณคดีที่สำคัญของชาวฮอลันดา ชื่อ ดร.แวน ฮิกเกอเรน ซึ่งเป็นเชลยศึกฝ่ายสมัยพันธมิตรที่ถูกญี่ปุ่นนำมาก่อสร้างทางรถไฟอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ได้พบเครื่องือหิน ที่ริมฝั่งแม่น้ำแควน้อยใกล้สถานีรถไฟบ้านเก่าห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 35 กิโลเมตร หลังสงครามเสร็จสิ้นแล้วได้นำเครื่องมือหินที่เก็บได้ไปตรวจสอบหาหลักฐานที่พิพิธภัณฑ์พีบอดี้มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดสหรัฐอเมริกาทำให้ทราบว่าส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือยุคหินเก่า และเรียกเครื่องมืออื่นที่พบนี้ว่าวัฒนธรรมแควน้อยโดยใช้ชื่อแหล่งที่พบตามลำน้ำแควน้อยที่บ้านเก่า ตำบลจระเข้เผือก (ปัจจุบันคือตำบลบ้านเก่า) จังหวัดกาญจนบุรีแต่เรียกเพี้ยนไปว่า เฟงน้อยหรือฟิงนอง  ซึ่งยุคหินเก่าเมืองกาญจนบุรีมีอายุประมาณ

Loading

Read more

“ปากแพรก” กาญจนบุรี

นอกจากชีวิตการค้าขายที่เป็นวิถีชีวิตในการสร้างรายได้ในหมู่ชาวจีน และชาติพันธุ์อื่นๆ เขามีวิธีการทำมาหากินกันอย่างไร ในบทความเรื่อง “ปากแพร” ซึ่งตีพิมพ์ในอนุสาร อ.ส.ท. พ.ศ. 2513 บรรยายภาพการทำมาหากินในย่านปากแพรกยามรุ่งอรุณเอาไว้ดังนี้ “ทุกๆ เช้า ประมาณ 08.00 นาฬิกา จะมีเรือบรรทุกสินค้านานาชนิดและผู้คนมาจากแควน้อยและแควใหญ่มาขึ้น ณ ท่าหน้าเมือง สินค้าส่วนมากเป็นสินค้าพื้นเมืองจำพวกผลไม้ตามฤดูกาล เช่น

Loading

Read more

ศูนย์วัฒนธรรม อบต.ไล่โว่ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ของชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง

ตำบลไล่โว่ ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรฝั่งตะวันตกมีเนื้อที่ประมาณ 1,789.23 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ป่าไม้นานาพันธุ์ มีภูเขาสูงสลับกับพื้นที่ราบ แบ่งการปกครองออกเป็น 6 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสะเน่พ่อง บ้านกองม่องทะ บ้านเกาะสะเดิ่ง บ้านไล่โว่-ซาละวะ บ้านทิไล่ป้าและบ้านจะแก โดยชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง           องค์การบริหารส่วนตำบลไล่โว่ตระหนักถึงความสำคัญคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวบ้าน จึงจัดตั้ง “อาคารศูนย์วัฒนธรรมอบต.ไล่โว่

Loading

Read more

โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน [ อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ]

              อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ตั้งอยู่ที่บริเวณทุ่งลาดหญ้า ตำบลช่องสะเดา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ริเริ่มและดำเนินการก่อสร้างโดยกองทัพบกร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2542 มีความมุ่งหมายในการจัดสร้างเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ตลอดจนเชิดชูวีรกรรมบรรพบุรุษนักรบไทยในการทำสงคราม 9

Loading

Read more

วัดเขาสามสิบหาบ

“วัดเขาสามสิบหาบ” ตั้งอยู่บนทางหลวงชนบท กจ. ๔๐๒๙ ตำบลเขาสามสิบหาบ อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ไม่พบหลักฐานว่าก่อตั้งมาแต่เมื่อใด เดิมชื่อว่า “วัดหนองสามหิบหาบ” ดังปรากฏนามวัดในประกาศพระราชทานวิสุงคามสีมา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๑

Loading

Read more

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

           ในสมัยที่ตั้งเมืองใหม่ พ.ศ. ๒๓๗๔ บริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองในปัจจุบัน ถูกเรียกว่า “หน้าเมือง” และสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ชาวญวนที่อพยพลี้ภัย ได้เข้าตั้งบ้านเรือนในบริเวณหน้าเมืองนี้ด้วยพิธีสักการะศาลเจ้าพ่อหลักเมืองได้กระทำติดต่อมาแต่ครั้งโบราณกาลแล้ว ฉะนั้นความขลังความศักดิ์สิทธิ์จึงมาเป็นอันดับหนึ่ง ถือว่าเป็นโบราณวัตถุที่สำคัญคู่บ้านคู่เมือง เป็นที่เคารพสักการะ และนับถือศักดิ์สิทธิ์เป็นที่รวมวิญญาณของชาวเมืองกาญจนบุรี สามารถดลบันดาลให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขแก่ชาวเมืองกาญจนบุรีอักษรจารึกหลักศิลาเมืองกาญจน์ ณ ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี           ” ปีมะโรงจัตวาศก

Loading

Read more

บ้านอีต่อง “บ้านเทพเจ้าแห่งขุนเขา” อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

ประวัติความเป็นมาของชุมชน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน “อีต่อง” เพี้ยนมาจากคำว่า “ณัตเอ่งต่อง”  โดยคำว่า “ณัต”  แปลว่าเทพเจ้าหรือเทวดา ส่วนคำว่า “เอ่ง” แปลว่า บ้าน และคำว่า “ต่อง” แปลว่า ภูเขา (ทินกร, สัมภาษณ์, 18 ตุลาคม

Loading

Read more

โบราณสถานที่สำคัญของวัดเขารักษ์

บ้านเขารักษ์อยู่ในเขต ตำบลดอนแสลบเป็น 1 ใน 4 ตำบลของอำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี และเป็นตำบลที่มีเรื่องราวความเป็นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น โดยมี “พระปรางค์วัดเขารักษ์” ตั้งอยู่หมู่ 5 บ้านเขารักษ์ เป็นพยานถึงความเสียสละของบรรพชนที่ร่วมปกป้องแผ่นดินจากอริราชศัตรู พระปรางค์เขารักษ์ ตั้งอยู่หมู่ 5 บ้านเขารักษ์ อยู่ระหว่างเส้นทางตลาดใหม่ –

Loading

Read more