ประวัติความเป็นมา บ้านเวียคาดี้-โมรข่า ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
ประวัติความเป็นมา บ้านเวียคาดี้-โมรข่า หมู่ที่ ๕ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่ติดเขตป่าสงวนแห่งชาติเขาช้างเผือกและเขตอุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ อยู่ห่างจากแนวชายแดนไทย-พม่าประมาณ ๙ กิโลเมตร ประชากรเกือบทั้งหมดเป็นชาวกะเหรี่ยง ทั้งที่ถือบัตรประชาชนคนไทยและบัตรแสดงสถานะบุคคลบนพื้นที่สูง(บัตรสี) บรรพบุรุษอพยพโยกย้ายถิ่นฐานมาจากประเทศพม่าเข้ามาตั้งรกรากอยู่ในประเทศไทยเมื่อประมาณ ๒๐๐ กว่าปีก่อน (สันนิษฐานว่ามีการก่อตั้งหมู่บ้านมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๓๔๘) แต่เดิมชาวบ้านทำมาหากินอยู่กับป่า ทำไร่หมุนเวียน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ชุมชนของชาวชุมชนตำบลไล่โว่
พระแก้วขาว ชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่วิจัย เรียกพระแก้วองค์นี้ว่า “ไจ่เม่อไน” หมายถึง “พระพุทธรูปแก้วองค์งาม” เป็นศูนย์รวมความศรัทธา ความเคารพนับถือ เป็นที่พึ่งสำคัญยิ่งของคนพื้นที่วิจัย ทั้งยามสุขและยามทุกข์ ทั้งยังเป็นหลักฐานแห่งเกียรติยศ ศักดิ์ศรี และความภูมิใจของกลุ่มชาติพันธุ์ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานไว้ ในโอกาสที่ชาวไทยกะเหรี่ยงได้ช่วยเหลือราชการแผ่นดินด้วยความจงรักภักดีมาตลอด ซึ่งเล่าสืบต่อกันมาว่า พระองค์ทรงพระราชทานให้พระศรีสุวรรณคีรี เมื่อครั้งร่วมพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา
ประเพณีกินข้าว (บึงต้งคู้) กะเหรี่ยง ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
ชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก ร่วมกันทำบุญงานประเพณีบุญข้าวใหม่ บริเวณวัดบ้านจะแก ซึ่งเป็นงานบุญสำคัญหลังเสร็จสิ้นการเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าว โดยพิธีเริ่มด้วยการร่วมกันทำบุญตักบาตรข้าวสุก ซึ่งเป็นข้าวใหม่ที่ได้จากการทำไร่ในปีนี้ ถวายแด่พระสงฆ์ เพื่อตอบแทนบุญคุณพระแม่โพสพ หลังเสร็จพิธีผู้ที่มาร่วมงานจะไปรวมตัวกันที่ลานพิธีงานบุญข้าวใหม่ ซึ่งทำด้วยไม้ไผ่เป็นทรง 4 เหลี่ยมจัตุรัส มีซุ้มประตูทางเข้าทั้ง 4 ทิศ
กาญจนบุรีประเพณีสงกรานต์ชาวไทยเชื้อสายกระเหรี่ยงเริ่มแล้วที่กลางป่าทุ่งใหญ่นเรศวรตักทรายก่อเจดีย์ช่วยต่ออายุตามความเชื่อแต่โบราณ
ชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงเตรียมสถานที่จัดงานประเพณีสงกรานต์ ที่วัดสะเนพ่อง หมู่ที่ 1 ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีการทำความสะอาดบริเวณโดยรอบวัดซึ่งจะทำความสะอาดปีละครั้งในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ชาวบ้านบางส่วนเริ่มไปตักทรายจากริมแม่น้ำโรคี่ มาเพื่อใช้ก่อเจดีย์ทราย ตามคติความเชื่อที่สืบทอดต่อกันมา การตักทรายโดยใช้ช้อนหรือกำด้วยมือ จำนวนทรายที่จะนำมาก่อเจดีย์ต้องมากกว่าอายุคนตัก 1-2 กำ เช่น อายุ 30
โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน [ อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ]
อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ตั้งอยู่ที่บริเวณทุ่งลาดหญ้า ตำบลช่องสะเดา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ริเริ่มและดำเนินการก่อสร้างโดยกองทัพบกร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2542 มีความมุ่งหมายในการจัดสร้างเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ตลอดจนเชิดชูวีรกรรมบรรพบุรุษนักรบไทยในการทำสงคราม 9
หมวดหมู่
- Uncategorized (1)
- กลุ่มองค์กรประชาชน (2)
- การบริการวิชาการแก่สังคม (1)
- การศึกษา (9)
- การเมืองกาปกครอง (5)
- ข้อมูลท้องถิ่น (38)
- ข่าวประชาสัมพันธ์ (11)
- บุคคลสำคัญ/ปราชญ์ชาวบ้าน (9)
- ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (34)
- ประเพณีและวัฒนธรรม (28)
- ภูมิปัญญาชาวบ้าน (13)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1)
- เกษตรกรรม (3)
- เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (7)
- แหล่งท่องเที่ยว (9)
- โบราณสถานวัตถุ (14)
วีดีโอ-rLOCAL
เรื่องเก่าชาวห้วยสะพาน เล่าขานประเภณี
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายเทศบาลตำบลท่าไม้กาญจนบุรี