ประเพณีทรงเจ้าตำบลบ้านเก่า
ประเพณีทรงเจ้าตำบลบ้านเก่า เดิมทีมีศาลไม้เก่าใกล้บริเวณท่าน้ำบ้านเก่าและชาวบ้านก็ไม่ทราบว่าใครสร้างเอาไว้ แต่ชาวบ้านก็ให้ความสำคัญนับถือศาลตลอดมา ต่อมาได้มีเจ้าองค์แรกที่จับทรงหรือเลือกร่างทรงเพื่อเป็นสื่อกลางในการทำพิธีต่างๆ คือเจ้าพ่อเขาแก้ว ร่างทรงเป็นนายแล่น รื่นกลิ่น หลังจากนั้นก็เริ่มมีเจ้าเริ่มจับคนทรงเพิ่มมากขึ้นเลื่อยๆ การแต่งกายของร่างทรงในขณะเจ้าขึ้นทรง โดยทั้งเจ้าพ่อและเจ้าแม่ มีการแต่งกายร่างทรงเหมือนกัน ได้แก่ ผ้านุ่งเป็นผ้าพื้นเดียวมีสีสันหรืออาจมีลวดลายและมีวิธีการนุ่งเหมือนกับการนุ่งสบงของพระสงฆ์ ผ้าคาดผ้านุ่ง เป็นผ้าพื้นเล็กใช้สำหรับรัดผ้านุ่งตรงเอว สไบ เป็นผ้าที่มีสีสันต่างๆ ใช้คาดทางหัวไหล่ซ้ายและให้ห้อยมาทางขวามือ ผ้าเช็ดหน้า 2
ประวัติชุมชนบ้านตลิ่งแดง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
บ้านตลิ่งแดงเป็นชุมขนค้าขายมาตั้งแต่งดั้งเดิม ที่ตั้งชุมชนบางส่วนติดแม่น้ำแควใหญ่ มีท่าเรือใหญ่ 2 ท่า เพื่อขึ้นล่องสินค้าที่มาจากป่าต้นแม่น้ำแควใหญ่ อำเภอศรีสวัสดิ์ สำหรับที่มาของชื่อหมู่บ้านเกิดจาพ่อค้าที่นำแพไม้ซุง ไม้ไผ่ ไม้รวก ล่องลงมาจากศรสวัสดิ์เพื่อไปขายยังตัวเมือง มักจะหยุดพักที่ท่าน้ำเพื่อลากแพขึ้นฝั่งเป็นลำๆ ขึ้นมาผูกใหม่ ดินริมตลิ่งซึ่งเป็นลูกรังสีแดงถูกลากจนตลิ่งพังและกลายเป็นชื่อชุมชนบ้านตลิ่งแดงมาจนถึงปัจจุบัน (สัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านตลิ่งแดง) ช่วงปี พ.ศ. 2449 จนถึง พ.ศ.
แกงฮินเลอาหารพื้นเมืองคนไทยในอำเภอทองผาภูมิ
แกงฮินเล เป็นอาหารพื้นเมืองที่ได้รับวัฒนธรรมมาจากชาวพม่า คนไทยในอำเภอทองผาภูมิ นิยมรับประทาน รสชาติ เค็ม มัน เปรี้ยว อร่อย “ฮิน” ในภาษาพม่าแปลว่าแกง “เล” ภาษาพม่าแปลว่า เนื้อสัตว์ แกงฮินเลมีต้นกำเนิดมาจากประเทศพม่า ชาวพม่าที่อพยบเข้ามาในประเทศไทยได้นำมาเผยแพร่ ลักษณะเหมือนกับแกงโฮ๊ะ ของชาวล้านนา เครื่องปรุง
ลิเกคณะโรงเรียนวัดชุกพี้คอนแวนต์ ตำบลม่วงชุม อำเภอท่าม่วง
ลิเกคณะโรงเรียนวัดชุกพี้คอนแวนต์ เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2552 โดยการริเริ่มของ นายประสาร จันทร์เพียร ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดชุกพี้ ด้วยเห็นความสำคัญของการสืบสานศิลปะการแสดงแขนงนี้ จึงมีความคิดที่จะจัดการเรียนการสอนโดยนำเรื่อง นาฏศิลป์-นาฏดนตรี (ลิเก) เข้ามาอยู่ในกิจกรรมของโรงเรียน โดยให้เด็ก ๆ รวมถึงครูในโรงเรียนได้เรียนรู้ศิลปะการแสดงแขนงดังกล่าว จากปัญหาสภาพเศรษฐกิจของครอบครัวนักเรียนที่ส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ทำให้เด็ก ๆ ไม่สามารถเรียนต่อได้ เนื่องจากผู้ปกครองและครอบครัวเด็กไม่มีเงินส่งเสีย
โบราณสถานที่สำคัญของวัดเขารักษ์
บ้านเขารักษ์อยู่ในเขต ตำบลดอนแสลบเป็น 1 ใน 4 ตำบลของอำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี และเป็นตำบลที่มีเรื่องราวความเป็นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น โดยมี “พระปรางค์วัดเขารักษ์” ตั้งอยู่หมู่ 5 บ้านเขารักษ์ เป็นพยานถึงความเสียสละของบรรพชนที่ร่วมปกป้องแผ่นดินจากอริราชศัตรู พระปรางค์เขารักษ์ ตั้งอยู่หมู่ 5 บ้านเขารักษ์ อยู่ระหว่างเส้นทางตลาดใหม่ –
หมวดหมู่
- Uncategorized (1)
- กลุ่มองค์กรประชาชน (2)
- การบริการวิชาการแก่สังคม (1)
- การศึกษา (9)
- การเมืองกาปกครอง (5)
- ข้อมูลท้องถิ่น (38)
- ข่าวประชาสัมพันธ์ (11)
- บุคคลสำคัญ/ปราชญ์ชาวบ้าน (9)
- ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (34)
- ประเพณีและวัฒนธรรม (28)
- ภูมิปัญญาชาวบ้าน (13)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1)
- เกษตรกรรม (3)
- เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (7)
- แหล่งท่องเที่ยว (9)
- โบราณสถานวัตถุ (14)
วีดีโอ-rLOCAL
เรื่องเก่าชาวห้วยสะพาน เล่าขานประเภณี
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายเทศบาลตำบลท่าไม้กาญจนบุรี