อำเภอเมืองสุพรรณบุรี
จังหวัดสุพรรณบุรีเป็นเมืองโบราณ พบหลักฐานทาง โบราณคดี มีอายุไม่ต่ำกว่า 3,500 – 3,800 ปี โบราณวัตถุที่ขุดพบมีทั้งยุคหินใหม่ ยุคสัมฤทธิ์ ยุคเหล็ก และสืบทอดวัฒนธรรมต่อเนื่องมาตั้งแต่ สมัยสุวรรณภูมิ ฟูนัน อมราวดี ทวารวดี ศรีวิชัย สุพรรณบุรี เดิมมีชื่อ “ทวารวดีศรีสุพรรณภูมิ
ประวัติอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
อู่ทองเมืองโบราณ ต้นกำเนิดประวัติศาสตร์ อารยธรรมสุวรรณภูมิ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีหลักฐานทางโบราณคดีที่สันนิษฐานได้ว่า เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรทวาราวดีและเป็นศูนย์กลางของดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชนชาติพันธุ์ต่าง ๆ ก่อนจะหลอมรวมเป็นชาติไทยในปัจจุบัน เมืองโบราณอู่ทองตั้งอยู่ในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ริมลำน้ำจระเข้สามพัน ผังเมืองเป็นรูปวงรี ทอดตัวไปตามแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ มีขนาดความกว้างประมาณ 1
ประวัติความเป็นมาอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2440 ปีสมัยสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย มีเจ้าพระยาศรีวิชัยชนินทรเป็นสมุหเทศาภิบาล พระสมุทรคณานุรักษ์ เป็นข้าหลวงประจำจังหวัดสุพรรณบุรี และมีนายชิตเป็นนายอำเภอบางปลาม้าคนแรก ที่มาของชื่อ “อำเภอบางปลาม้า”จากการสอบถามผู้อาวุโส และผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ความว่า เดิมบริเวณลุ่มน้ำท่าจีน ตั้งแต่ตอนใต้ตลาดเก้าห้องลงมาจนถึงค้งตาเพชร ตำบลวังตาเพชร เป็นลุ่มน้ำ น้ำในห้วยหนอง คลอง
ประวัติความเป็นมาของตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
หนองลู เป็นภาษากระเหรี่ยงเรียกว่า นุ่งลู่ หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ในตระกูลต้นตาลลักษณะใบตรงโคนแคบ ตรงปลายขยายออกใหญ่ นำมาใช้มุ่งหลังคาบ้านของชาวกระเหรี่ยง ขึ้นตาบริเวณหนอง ทางจังหวัดชลบุรีเรียกว่าต้นก้อ ฉะนั้นคำว่าหนองลู หรือนุ่งลู่ หมายถึงต้นค้อ หรือต้นก้อที่ขึ้นอยู่ตามริมหนองตามประวัติศาสตร์ ตำบลหนองลู ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่า ตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. ใด ตามตำนานคำบอกเล่าขานของผู้เฒ่าผู้แก่และผู้ใหญ่ที่ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือ ได้เล่าวว่า
ประวัติความเป็นมาหมู่บ้านห้วยกระเจา
ตำบลห้วยกระเจา แต่เดิมขึ้นกับอำเภอพนมทวน เป็นตำบลที่เกิดขึ้นปลายรัชกาลที่ 6 โดยมีนายปั้น ใคร่ครวญ หรือขุน “กระเจา เจนเขต” เป็นกำนันคนแรกของตำบลห้วยกระเจา ต่อมาได้มีประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2537 (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) โดยแบ่งพื้นที่ของอำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งเป็นกิ่งอำเภอห้วยกระเจา
หมวดหมู่
- Uncategorized (1)
- กลุ่มองค์กรประชาชน (2)
- การบริการวิชาการแก่สังคม (1)
- การศึกษา (9)
- การเมืองกาปกครอง (5)
- ข้อมูลท้องถิ่น (38)
- ข่าวประชาสัมพันธ์ (11)
- บุคคลสำคัญ/ปราชญ์ชาวบ้าน (9)
- ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (34)
- ประเพณีและวัฒนธรรม (28)
- ภูมิปัญญาชาวบ้าน (13)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1)
- เกษตรกรรม (3)
- เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (7)
- แหล่งท่องเที่ยว (9)
- โบราณสถานวัตถุ (14)
วีดีโอ-rLOCAL
เรื่องเก่าชาวห้วยสะพาน เล่าขานประเภณี
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายเทศบาลตำบลท่าไม้กาญจนบุรี