บ้านป่านางเย้อ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

บ้านป่านางเย้อ หมู่ที่ 6 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นหมู่บ้านเก่าแก่แห่งหนึ่งในตำบลหนองบัว ที่มาคำว่า “ป่านางเย้อ” เป็นการเรียกชื่อตามบริบทของหมู่บ้านเนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีต้นเย้อขึ้นเป็นจำนวนมากต้นเย้อเป็นพืชประเภทไม้เลื้อย ขึ้นในป่าในอดีตชาวย้ายมักเรียกชื่อหมู่บ้านดังกล่าว “บ้านป่าอีเย้อ” แต่ฟังดูไม่สุภาพจึงเปลี่ยนมาเป็น “บ้านป่านางเย้อ” ลักษณะของหมู่บ้านป่านางเย้อมีภูเขาสลับกับพื้นที่ราบเชิงเขาและพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ มีแม่น้ำพื้นที่ คือ ชุมชนยังคงยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ดำรงชีวิตจากการพึ่งพาอาศัยฐานทรัพยากรท้องถิ่นด้วยภูมิปัญญาแบบดั้งเดิม ยึดกฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ระบบเครือญาติ

Loading

Read more

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จไปทรงเปิดอาคาร “พัชรปัญญา” อาคารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

               วันที่ 27 เมษายน 2565 เวลา 15.00 น. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จไปทรงเปิดอาคาร

Loading

Read more

ประเพณีทรงเจ้าตำบลบ้านเก่า

ประเพณีทรงเจ้าตำบลบ้านเก่า เดิมทีมีศาลไม้เก่าใกล้บริเวณท่าน้ำบ้านเก่าและชาวบ้านก็ไม่ทราบว่าใครสร้างเอาไว้ แต่ชาวบ้านก็ให้ความสำคัญนับถือศาลตลอดมา  ต่อมาได้มีเจ้าองค์แรกที่จับทรงหรือเลือกร่างทรงเพื่อเป็นสื่อกลางในการทำพิธีต่างๆ  คือเจ้าพ่อเขาแก้ว ร่างทรงเป็นนายแล่น รื่นกลิ่น หลังจากนั้นก็เริ่มมีเจ้าเริ่มจับคนทรงเพิ่มมากขึ้นเลื่อยๆ การแต่งกายของร่างทรงในขณะเจ้าขึ้นทรง โดยทั้งเจ้าพ่อและเจ้าแม่ มีการแต่งกายร่างทรงเหมือนกัน ได้แก่ ผ้านุ่งเป็นผ้าพื้นเดียวมีสีสันหรืออาจมีลวดลายและมีวิธีการนุ่งเหมือนกับการนุ่งสบงของพระสงฆ์ ผ้าคาดผ้านุ่ง เป็นผ้าพื้นเล็กใช้สำหรับรัดผ้านุ่งตรงเอว สไบ เป็นผ้าที่มีสีสันต่างๆ ใช้คาดทางหัวไหล่ซ้ายและให้ห้อยมาทางขวามือ ผ้าเช็ดหน้า 2

Loading

Read more

ประวัติชุมชนบ้านตลิ่งแดง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

บ้านตลิ่งแดงเป็นชุมขนค้าขายมาตั้งแต่งดั้งเดิม ที่ตั้งชุมชนบางส่วนติดแม่น้ำแควใหญ่ มีท่าเรือใหญ่ 2 ท่า เพื่อขึ้นล่องสินค้าที่มาจากป่าต้นแม่น้ำแควใหญ่ อำเภอศรีสวัสดิ์ สำหรับที่มาของชื่อหมู่บ้านเกิดจาพ่อค้าที่นำแพไม้ซุง ไม้ไผ่ ไม้รวก ล่องลงมาจากศรสวัสดิ์เพื่อไปขายยังตัวเมือง มักจะหยุดพักที่ท่าน้ำเพื่อลากแพขึ้นฝั่งเป็นลำๆ ขึ้นมาผูกใหม่ ดินริมตลิ่งซึ่งเป็นลูกรังสีแดงถูกลากจนตลิ่งพังและกลายเป็นชื่อชุมชนบ้านตลิ่งแดงมาจนถึงปัจจุบัน (สัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านตลิ่งแดง) ช่วงปี พ.ศ. 2449 จนถึง พ.ศ.

Loading

Read more

นายอุดม ข้องม่วง ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการร้องเพลงขอทาน

นายอุดม ข้องม่วง ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการร้องเพลงขอทาน เพลงขอทาน เพลงขอทานบ้านสมุน ตำบลพิหารแดง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ร้องเล่นกันในหมู่บ้าน ตนเองเป็นผู้เขียนเนื้อเพลง โดยเนื้อเพลงขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ต่าง ๆ ว่าร้องในโอกาสอะไร ร้องเพื่อเชิดชูเกียรติให้ใคร หรือจะบอกเล่าเรื่องอะไร สามารถที่จะเขียนได้หมด อย่างเช่น กลุ่มศิลปินเพลงขอทานบ้านสมุน

Loading

Read more

นายพิสูจน์ ใจเที่ยงกุล ผู้รับรางวัล “มณีกาญจน์” ประจำปี 2563 สาขาวัฒนธรรมทางภาษา จังหวัดสุพรรณบุรี

นายพิสูนจ์ ใจเที่ยงกุล อายุ 63 ปี เป็นชาวจังหวัดสุพรรณ สำเร็จการศึกษาครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) จากวิทยาลัยครูนครปฐม ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จารึกภาษาไทย) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร นายพิสูจน์ ใจเที่ยงกุล รับราชการเป็นครูภาษาไทย มีความสนใจภาษาไทยมาตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยมศึกษา มีการจัดทำหนังสือพิมพ์โรงเรียน

Loading

Read more

นายเดชา ศิริภัทร ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ จังหวัดสุพรรณบุรี

นายเดชา ศิริภัทร อายุ 72 ปี เป็นชาวจังหวัดสุพรรณบุรี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และได้รับปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการการเกษตรยั่งยืน จากสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน นายเดชา ศิริภัทร รับราชการอยู่ 2 ปี จึงลาออก เพื่อสารต่อธุรกิจเกษตรของครอบครัวในตำแหน่งผู้จัดการฟาร์มเกษตรภัทร ทำให้ทราบถึงปัญหาด้านการเกษตร จึงแสวงหาวิธีการพัฒนาการเกษตรเพื่อความยั่งยืน

Loading

Read more

นางวัฒนีย์ แจ่มอริยวัฒน์ ผู้รับรางวัล “มณีกาญจน์” ประจำปี 2563 สาขาหัตถศิลป์ จังหวัดสุพรรณบุรี

นางวัฒนีย์ แจ่มอริยวัฒน์ อายุ 56 ปี เป็นชาวจังหวัดสุพรรณบุรี สำกเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มีความชำนาญและเชี่ยวชาญในการจัดกสานไม้ไผ่และหวาย สืบทอด สร้างสรรค์มรดกภูมิปัญญาต่อจากคุณยายปิ่นแก้ว แสงจันทร์ฉาย ครูภูมิปัญญาคนแรกผู้ล่วงลับ นำงานหัตถกรรมพื้นถิ่นผสมผสานกับหัตถศิลป์ชั้นสูงในราชสำนัก ปรับประยุกต์ตามสมัยนิยมและความทันสมัย ทำให้เกิดความโดดเด่นของผลงานหัตถศิลป์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลายดอกพิกุล ลายหนามทุเรียน ได้เป็นหมู่บ้านหัตถกรรมดีเด่น

Loading

Read more