ประวัติชุมชนบ้านตลิ่งแดง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

บ้านตลิ่งแดงเป็นชุมขนค้าขายมาตั้งแต่งดั้งเดิม ที่ตั้งชุมชนบางส่วนติดแม่น้ำแควใหญ่ มีท่าเรือใหญ่ 2 ท่า เพื่อขึ้นล่องสินค้าที่มาจากป่าต้นแม่น้ำแควใหญ่ อำเภอศรีสวัสดิ์ สำหรับที่มาของชื่อหมู่บ้านเกิดจาพ่อค้าที่นำแพไม้ซุง ไม้ไผ่ ไม้รวก ล่องลงมาจากศรสวัสดิ์เพื่อไปขายยังตัวเมือง มักจะหยุดพักที่ท่าน้ำเพื่อลากแพขึ้นฝั่งเป็นลำๆ ขึ้นมาผูกใหม่ ดินริมตลิ่งซึ่งเป็นลูกรังสีแดงถูกลากจนตลิ่งพังและกลายเป็นชื่อชุมชนบ้านตลิ่งแดงมาจนถึงปัจจุบัน (สัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านตลิ่งแดง) ช่วงปี พ.ศ. 2449 จนถึง พ.ศ.

Loading

Read more

ในหลวงพระราชินีเสด็จฯทรงเปิดโครงการจัดหาน้ำบาดาลแก้ปัญหาภัยแล้งฯ จ.กาญจนบุรี

“อีสานภาคกลาง” คือ สมญานามของพื้นที่ 5 อำเภอในจังหวัดกาญจนบุรี ได้แก่ ห้วยกระเจา เลาขวัญ หนองปรือ บ่อพลอย และพนมทวน เหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าพื้นที่ดังกล่าวตั้งอยู่บริเวณเขตเงาฝน ทำให้ในแต่ละปี มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยต่ำกว่าพื้นที่โดยทั่วไป  นอกจากนี้พื้นดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย ทำให้เก็บน้ำไม่อยู่ ในช่วงหน้าแล้งของทุกปีชาวบ้านจะเดือดร้อนเรื่องน้ำเป็นอย่างมาก รัฐบาลโดย พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ

Loading

Read more

บริบทชุมชนเทศบาลตำบลหนองลาน

เทศบาลตำบลหนองลานยกฐานะเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 ตั้งอยู่เลขที่ 99/8 หมู่ที่ 7 ตำบลหนองลาน อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากอำเภอท่ามะกา 24 กิโลเมตรและห่างจากพื้นที่ 12,353.95 ไร่ ร้อยละ 80 เป็นพื้นที่เกษตรกรรมมีระบบน้ำชลประทานเข้าถึงร้อยละ 98

Loading

Read more

บ้านสะเนพ่องเป็นชุมชนดั้งเดิมเคยเป็นที่ตั้งของเมืองสังขละบุรี

บ้านสะเนพ่องเป็นชุมชนดั้งเดิมเคยเป็นที่ตั้งของเมืองสังขละบุรีมาก่อน ตามที่มีการบันทึกหลักฐานกล่าวว่า ภวะโพ่พระศรีสุวรรณคีรีที่ 1 เป็นเจ้าเมืองและมีการปกครองต่อเนื่องกันมา 5 ลำดับก่อนที่ทะเจียงโปรยพระศรีสุวรรณที่ 5 ย้ายไปตั้งเมืองใหม่ที่ตำบลวังกะ และเป็นเจ้าเมืองคนแรกระหว่างปี พ.ศ. 2439 – 2467 ต่อมามีการสร้างเขื่อนเขาแหลมจึงย้ายไปตั้งเมืองใหม่อีกครั้งที่ตำบลหนองลู อำเภอสังขละ(แจจุบัน) บ้านสะเนพ่องหมู่ 1 มีจำนวนครัวเรือน 166

Loading

Read more

ความเป็นมาของตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จัวหัดกาญจนบุรี

ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตกของจังหวัดกาญจนบุรี มีด้วยกัน 6 หมู่บ้าน คือ บ้านสะเนพ่อง บ้านกองม่องทะ บ้านไล่โว่-ซาลาวะ บ้านเกาะสะเดิ่ง บ้านที่ไล่ป้า บ้านจะแก ซึ่งบ้านสะเนพ่องอยู่ใกล้อำเภอสังขละบุรีประมาณ 10 กิโลเมตร อยู่สูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 800 – 1,100

Loading

Read more

ประวัติชุมชนหมู่บ้านวังกะ

ประมาณปี พ.ศ. 2490 ชาวมอญได้อพยพเข้ามาจากเมืองมะละแหม่ง ผ่านทางด่านเจดีย์สามองค์และแม่น้ำบีคลี่ และไปรวมตัวกันอยู่ที่หมู่บ้านนิเถะ ต่อมาชาวมอญกลุ่มใหม่ตามมาในระยะเวลาอันใกล้ โดยใช้เส้นทางบ้านอีต่อง อำเภอทองผาภูมิ เมื่อชาวมอญมีจำนวนมากขึ้นได้เริ่มจากหลวงพ่ออุตตมะนำประชาชนมารวมกันอยู่ ณ ตำแหน่งแม่น้ำสามสาย ได้แก่ แม่น้ำซองกาเรีย แม่น้ำบีคลี่ และแม่น้ำรันตีที่มาบรรจบกัน ณ ฝั่งแม่น้ำสามาประสบ ตรงข้ามกับฝั่งอำเภอสังขละบุรี หลวงพ่ออุตตมะได้จัดสรรที่ดินให้ได้อยู่อาศัย

Loading

Read more

บ้านป่านางเย้อ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

บ้านป่านางเย้อ หมู่ที่ 6 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นหมู่บ้านเก่าแก่แห่งหนึ่งในตำบลหนองบัว ที่มาคำว่า “ป่านางเย้อ” เป็นการเรียกชื่อตามบริบทของหมู่บ้านเนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีต้นเย้อขึ้นเป็นจำนวนมากต้นเย้อเป็นพืชประเภทไม้เลื้อย ขึ้นในป่าในอดีตชาวย้ายมักเรียกชื่อหมู่บ้านดังกล่าว “บ้านป่าอีเย้อ” แต่ฟังดูไม่สุภาพจึงเปลี่ยนมาเป็น “บ้านป่านางเย้อ” ลักษณะของหมู่บ้านป่านางเย้อมีภูเขาสลับกับพื้นที่ราบเชิงเขาและพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ มีแม่น้ำพื้นที่ คือ ชุมชนยังคงยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ดำรงชีวิตจากการพึ่งพาอาศัยฐานทรัพยากรท้องถิ่นด้วยภูมิปัญญาแบบดั้งเดิม ยึดกฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ระบบเครือญาติ

Loading

Read more

ประวัติชุมชนบ้านตลิ่งแดง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

บ้านตลิ่งแดงเป็นชุมขนค้าขายมาตั้งแต่งดั้งเดิม ที่ตั้งชุมชนบางส่วนติดแม่น้ำแควใหญ่ มีท่าเรือใหญ่ 2 ท่า เพื่อขึ้นล่องสินค้าที่มาจากป่าต้นแม่น้ำแควใหญ่ อำเภอศรีสวัสดิ์ สำหรับที่มาของชื่อหมู่บ้านเกิดจาพ่อค้าที่นำแพไม้ซุง ไม้ไผ่ ไม้รวก ล่องลงมาจากศรสวัสดิ์เพื่อไปขายยังตัวเมือง มักจะหยุดพักที่ท่าน้ำเพื่อลากแพขึ้นฝั่งเป็นลำๆ ขึ้นมาผูกใหม่ ดินริมตลิ่งซึ่งเป็นลูกรังสีแดงถูกลากจนตลิ่งพังและกลายเป็นชื่อชุมชนบ้านตลิ่งแดงมาจนถึงปัจจุบัน (สัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านตลิ่งแดง) ช่วงปี พ.ศ. 2449 จนถึง พ.ศ.

Loading

Read more