ประวัติอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

อู่ทองเมืองโบราณ ต้นกำเนิดประวัติศาสตร์ อารยธรรมสุวรรณภูมิ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีหลักฐานทางโบราณคดีที่สันนิษฐานได้ว่า เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรทวาราวดีและเป็นศูนย์กลางของดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชนชาติพันธุ์ต่าง ๆ ก่อนจะหลอมรวมเป็นชาติไทยในปัจจุบัน เมืองโบราณอู่ทองตั้งอยู่ในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ริมลำน้ำจระเข้สามพัน ผังเมืองเป็นรูปวงรี ทอดตัวไปตามแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ มีขนาดความกว้างประมาณ 1

Loading

Read more

ประวัติความเป็นมาอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี

          อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2440  ปีสมัยสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย  มีเจ้าพระยาศรีวิชัยชนินทรเป็นสมุหเทศาภิบาล  พระสมุทรคณานุรักษ์  เป็นข้าหลวงประจำจังหวัดสุพรรณบุรี  และมีนายชิตเป็นนายอำเภอบางปลาม้าคนแรก ที่มาของชื่อ “อำเภอบางปลาม้า”จากการสอบถามผู้อาวุโส และผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ความว่า เดิมบริเวณลุ่มน้ำท่าจีน ตั้งแต่ตอนใต้ตลาดเก้าห้องลงมาจนถึงค้งตาเพชร ตำบลวังตาเพชร  เป็นลุ่มน้ำ น้ำในห้วยหนอง คลอง

Loading

Read more

ประวัติความเป็นมาของตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

หนองลู เป็นภาษากระเหรี่ยงเรียกว่า นุ่งลู่ หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ในตระกูลต้นตาลลักษณะใบตรงโคนแคบ ตรงปลายขยายออกใหญ่ นำมาใช้มุ่งหลังคาบ้านของชาวกระเหรี่ยง ขึ้นตาบริเวณหนอง ทางจังหวัดชลบุรีเรียกว่าต้นก้อ ฉะนั้นคำว่าหนองลู หรือนุ่งลู่ หมายถึงต้นค้อ หรือต้นก้อที่ขึ้นอยู่ตามริมหนองตามประวัติศาสตร์ ตำบลหนองลู ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่า ตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. ใด ตามตำนานคำบอกเล่าขานของผู้เฒ่าผู้แก่และผู้ใหญ่ที่ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือ ได้เล่าวว่า

Loading

Read more

ประวัติความเป็นมาหมู่บ้านห้วยกระเจา

ตำบลห้วยกระเจา แต่เดิมขึ้นกับอำเภอพนมทวน เป็นตำบลที่เกิดขึ้นปลายรัชกาลที่ 6 โดยมีนายปั้น ใคร่ครวญ หรือขุน “กระเจา เจนเขต” เป็นกำนันคนแรกของตำบลห้วยกระเจา ต่อมาได้มีประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2537 (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) โดยแบ่งพื้นที่ของอำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งเป็นกิ่งอำเภอห้วยกระเจา

Loading

Read more

ประวัติตำบลทุ่งสมอ อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

ประวัติความเป็นมา ที่มาของทุ่งสมอมี 3 สมมติฐานที่เช้าขานสืบต่อกันมา ซึ่งสมมติฐานที่ 1 เป็นเรื่องราวเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของสมัยสงครามยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรกระทำยุทะหัตถีกับพระมหาอุปราชาบริเวณทุ่งหนองสาหร่าย (ปัจจุบันอยู่ในเขต ตำบลดอนเจดีย์ ตำบลทุ่งสมอ ตำบลหนองสาหร่าย) มีคนเจ็บและคนตายจำนวนมาก บริเวณที่ตั้งตำบลในปัจจุบันเป็นที่ตั้งค่ายของหมอจึงเรียกว่าโรงหมอ และเพี้ยนมาเป็นทุ่งสมอในปัจจุบัน สมมติฐานที่ 2 เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติที่ว่าบริเวณที่ตั้งของตำบลปัจจุบันเป็นท้องทุ่งมีต้นสมอขึ้นเรียงรายเป็นจำนวนมาก คนจึงเรียกว่าเป็นบ้านทุ่งต้นสมอ ต่อมาเหลือเพียงสั้นๆ

Loading

Read more

ประวัติและที่ตั้งหมู่บ้านสามร้อยไร่ ตำบลหนองปลาไหล อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี

ชุมชนบ้านสามร้อยไร่เป็นชุมชนตั้งใหม่เดิมพื้นที่เป็นส่วนหนึ่งของหมู่ 4 ตำบลหนองปลาไหล และได้แยกออกมาเป็นหมู่บ้านสามร้อยไร่อย่างเป็นทางการ เมื่อปี พ.ศ. 2534 ส่วนชื่อหมู่บ้านสามาร้อยไร่มีที่มาเกิดจากการอพยพของชาวนครปฐมในอดีตที่เข้ามาซื้อที่ดิน จำนวน 300 ไร่ แล้วมีการเรียกกลุ่มที่มาซื้อที่ดินและตั้งถิ่นฐานบริเวณนั้นว่า “บ้านสามร้อยไร่” โดยปัจจุบันมีนายมานะ  อินทรมณี เป็นผู้ใหญ่บ้าน (มานะ อินทรมณี, 2557) ที่ตั้งของหมู่บ้านสามร้อยไร่

Loading

Read more

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

           ในสมัยที่ตั้งเมืองใหม่ พ.ศ. ๒๓๗๔ บริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองในปัจจุบัน ถูกเรียกว่า “หน้าเมือง” และสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ชาวญวนที่อพยพลี้ภัย ได้เข้าตั้งบ้านเรือนในบริเวณหน้าเมืองนี้ด้วยพิธีสักการะศาลเจ้าพ่อหลักเมืองได้กระทำติดต่อมาแต่ครั้งโบราณกาลแล้ว ฉะนั้นความขลังความศักดิ์สิทธิ์จึงมาเป็นอันดับหนึ่ง ถือว่าเป็นโบราณวัตถุที่สำคัญคู่บ้านคู่เมือง เป็นที่เคารพสักการะ และนับถือศักดิ์สิทธิ์เป็นที่รวมวิญญาณของชาวเมืองกาญจนบุรี สามารถดลบันดาลให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขแก่ชาวเมืองกาญจนบุรีอักษรจารึกหลักศิลาเมืองกาญจน์ ณ ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี           ” ปีมะโรงจัตวาศก

Loading

Read more

บ้านอีต่อง “บ้านเทพเจ้าแห่งขุนเขา” อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

ประวัติความเป็นมาของชุมชน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน “อีต่อง” เพี้ยนมาจากคำว่า “ณัตเอ่งต่อง”  โดยคำว่า “ณัต”  แปลว่าเทพเจ้าหรือเทวดา ส่วนคำว่า “เอ่ง” แปลว่า บ้าน และคำว่า “ต่อง” แปลว่า ภูเขา (ทินกร, สัมภาษณ์, 18 ตุลาคม

Loading

Read more

ประวัติชุมชนบ้านตลิ่งแดง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

บ้านตลิ่งแดงเป็นชุมขนค้าขายมาตั้งแต่งดั้งเดิม ที่ตั้งชุมชนบางส่วนติดแม่น้ำแควใหญ่ มีท่าเรือใหญ่ 2 ท่า เพื่อขึ้นล่องสินค้าที่มาจากป่าต้นแม่น้ำแควใหญ่ อำเภอศรีสวัสดิ์ สำหรับที่มาของชื่อหมู่บ้านเกิดจาพ่อค้าที่นำแพไม้ซุง ไม้ไผ่ ไม้รวก ล่องลงมาจากศรสวัสดิ์เพื่อไปขายยังตัวเมือง มักจะหยุดพักที่ท่าน้ำเพื่อลากแพขึ้นฝั่งเป็นลำๆ ขึ้นมาผูกใหม่ ดินริมตลิ่งซึ่งเป็นลูกรังสีแดงถูกลากจนตลิ่งพังและกลายเป็นชื่อชุมชนบ้านตลิ่งแดงมาจนถึงปัจจุบัน (สัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านตลิ่งแดง) ช่วงปี พ.ศ. 2449 จนถึง พ.ศ.

Loading

Read more

ประวัติชุมชนหมู่บ้านวังกะ

ประมาณปี พ.ศ. 2490 ชาวมอญได้อพยพเข้ามาจากเมืองมะละแหม่ง ผ่านทางด่านเจดีย์สามองค์และแม่น้ำบีคลี่ และไปรวมตัวกันอยู่ที่หมู่บ้านนิเถะ ต่อมาชาวมอญกลุ่มใหม่ตามมาในระยะเวลาอันใกล้ โดยใช้เส้นทางบ้านอีต่อง อำเภอทองผาภูมิ เมื่อชาวมอญมีจำนวนมากขึ้นได้เริ่มจากหลวงพ่ออุตตมะนำประชาชนมารวมกันอยู่ ณ ตำแหน่งแม่น้ำสามสาย ได้แก่ แม่น้ำซองกาเรีย แม่น้ำบีคลี่ และแม่น้ำรันตีที่มาบรรจบกัน ณ ฝั่งแม่น้ำสามาประสบ ตรงข้ามกับฝั่งอำเภอสังขละบุรี หลวงพ่ออุตตมะได้จัดสรรที่ดินให้ได้อยู่อาศัย

Loading

Read more